ความคืบหน้าและความท้าทายของกรอบการทำงาน Sendai สู่ปี 2030

ความคืบหน้าและความท้าทายของกรอบการทำงาน Sendai สู่ปี 2030 🌍 (Multi-Stakeholder Paneries (MSP): Regional progress on implementation of the Sendai Framework and MTR recommendations in Global Platform for Disaster Risk Reduction 2025 (GP2025))

ภาพรวมทั่วโลก

กรอบการทำงาน Sendai มีความก้าวหน้าในการลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติ แต่ยังเจอความท้าทายสำคัญ เช่น ขาดเงินทุน, ข้อมูลไม่ดี, และ การเมืองที่เน้นระยะสั้น

เอเชีย-แปซิฟิก

ภูมิภาคนี้พัฒนาดีขึ้นในการเชื่อมโยงการลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติ (DRR) กับการปรับตัวต่อสภาพภูมิอากาศ แต่ยังคงมีปัญหา เงินทุนไม่พอ, การรวมนโยบายไม่ดี, และ ความเสี่ยงภัยพิบัติที่เพิ่มขึ้น

ทางข้างหน้าสู่ปี 2030

ต้องเพิ่มการลงทุน, ปรับปรุงข้อมูล, รวม DRR เข้าไปในทุกนโยบาย, ส่งเสริมการวางแผนที่ครอบคลุม, และ สร้างความร่วมมือที่แข็งแกร่งขึ้น เพื่อรับมือกับภัยพิบัติได้อย่างยั่งยืน!

#SendaiFramework#ลดความเสี่ยงภัยพิบัติ#DRR#ภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก#ก้าวสู่ปี2030

Multi-Stakeholder Panels (MSP): Regional progress on implementation of the Sendai Framework and MTR recommendations at GP2025

Global Overview

The Sendai Framework shows progress in reducing disaster risk, but still faces significant challenges such as funding gaps, poor data, and short-term political focus.

Asia-Pacific

This region has improved in linking Disaster Risk Reduction (DRR) with climate adaptation. However, it continues to grapple with insufficient funding, poor policy integration, and increasing disaster risks.

The Way Forward to 2030

Increase investment, improve data, integrate DRR into all policies, promote inclusive planning, and build stronger partnerships to sustainably address disasters!

#SendaiFramework#DisasterRiskReduction#DRR#AsiaPacific#Towards2030

Scroll to Top